เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เราใช้คุกกี้เพื่อนำเสนอเนื้อหาและโฆษณา คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม‘นโยบายคุกกี้’ และ ‘นโยบายความเป็นส่วนตัว’
เรื่องล่าสุดของหมวด
“นวดรอบดวงตา” อันตรายมากกว่าผ่อนคลาย เสี่ยง “ต้อหิน-ตาบอด”
งด "อาหารเช้า" ส่งผลดี-ผลเสียต่อร่างกายอย่างไรบ้าง
กระเทียม-หอมใหญ่ ช่วยลดไขมันในเลือดได้จริงหรือ
ทำไม นอน "ละเมอ" ไม่ควรรีบปลุกให้ตื่นทันที
5 เคล็ดลับทำตอนเช้า ลด “ไขมันพอกตับ” ได้จริง แถมสุขภาพดีขึ้น
“ไข่ต้ม” กับ 9 ประโยนช์ดีๆ ต่อร่างกาย เสริมภูมิคุ้มกัน-ลดเสี่ยงโรคหัวใจ
รู้จัก "โรคซึมเศร้า" มีอาการอย่างไร และวิธีการดูแล ฟื้นฟู จิตใจ
วิจัยชี้ กินยาแก้ซึมเศร้านานๆ อาจทำให้ "เซโรโทนิน" ลดลง
ไข้เลือดออก มีอาการอย่างไร วิธีรักษาป้องกันโรคไข้เลือดออก
"เหนื่อยแต่นอนไม่หลับ" สัญญาณอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
10 สัญญาณอันตราย เสี่ยงโรคแพนิค
แพทย์ญี่ปุ่นแนะ 5 วิธีลดเครียดได้ง่ายๆ ฉบับวัยทำงาน
เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก อาจเสี่ยง “ลิ้นหัวใจรั่ว”
ปวดท้องข้างซ้าย ตำแหน่งไหน เป็นโรคอะไรได้บ้าง
3 อาการพบบ่อยในผู้หญิง เสี่ยงโรคภายในอันตราย
"วูบหมดสติ" สัญญาณอันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
เตือน! กิน “ไข่พยาธิตัวตืด” ไม่ช่วยลดหุ่น อาจเสี่ยงตายได้
"วันแม่" พาตรวจสุขภาพหา 8 โรคพบบ่อยที่ “คุณแม่” ของคุณต้องระวัง
9 ยารักษาโรคที่ต้องพกติดตัวเมื่อต้องเดินทางไปเที่ยว
“เมลาโทนิน” ช่วยให้หลับสบาย แต่ปลอดภัยต่อร่างกายจริงหรือ
รวมลิงค์ลงทะเบียนรักษาโควิด-19 ด้วยระบบการแพทย์ทางไกล จัดส่งยาถึงบ้าน ฟรี!
"คอเลสเตอรอล" สูงแค่ไหน ถึงต้องกินยาลด
ศูนย์ฉีดวัคซีนกลางบางซื่อ เปิดจองวัคซีนโควิด-19 “ไฟเซอร์-โมเดอร์นา” เดือนสิงหาคม 2565
6 เรื่องควรรู้ ก่อนใช้ยาเลื่อนประจำเดือน เพื่อยุติการตั้งครรภ์
หน้า: 1
แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?
สำหรับคนที่มีโอกาสติดตามข่าววิทยาศาสตร์หลายคนอาจเคยได้ยินมาบ้าง ว่าในปัจจุบันเราสามารถพบชิ้นส่วนของพลาสติกได้แม้แต่ในชิ้นเนื้อ อวัยวะ และเลือดของมนุษย์แล้วนัน ล่าสุดนักวิจัยได้ค้นพบว่ามนุษย์บริโภคพลาสติกเข้าไปในร่างกายน้ำหนักเท่ากับบัตรเคดิต 1ใบ/สัปดาห์ แต่เคยสงสัยกันไหมว่าพลาสติกเหล่านี้มันเข้าไปในร่างกายของเราแต่อย่างไร? และมนุษย์เรารับพลาสติกเข้าไปขนาดนั้นจริงๆ เหรอ? เพราะล่าสุดนี้เองนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยการแพทย์เวียนนาก็เพิ่งจะค้นพบว่า มนุษย์เราจะบริโภค "อนุภาคไมโครและนาโนพลาสติก" (MNPs) เข้าไปต่างๆ มากถึงเกือบ 5 กรัมต่อสัปดาห์ หรือพอๆ กับน้ำหนักของบัตรเครดิตได้เลย และในจำนวนนี้หลายส่วนไม่น้อยก็มาจากน้ำดื่มด้วยโดยในงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Exposure and Health นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่า คนที่ดื่มน้ำโดยเฉลี่ยวันละ 1.5-2 ลิตรจากขวดพลาสติก จะได้รับอนุภาคพลาสติกเข้าไป โดยเฉลี่ยถึง 90,000 หน่วย ซึ่งอาจเพิ่มลดได้แล้วแต่ประเภทของขวด ยี่ห้อน้ำ และพื้นที่อยู่อาศัยโดยตัวเลขนี้ ถูกระบุโดยนักวิทยาศาสตร์ว่าจะสามารถลดลงได้มากถึง 50,000 หน่วย หากผู้คนหันไปดื่มน้ำจากแหล่งที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับพลาสติก เช่นน้ำประปา (ซึ่งคงจะเป็นไปได้ยากในหลายประเทศ รวมถึงไทย) จริงอยู่ว่าในปัจจุบันเราจะยังไม่มีข้อมูลแน่ชัดนักว่า การมีอนุภาคพลาสติกมากขนาดนี้ในตัวจะเป็นอันตรายหรือไม่แต่การค้นพบค้นพบดังกล่าวก็สร้างความไม่สบายใจแก่นักวิทยาศาสตร์ไม่น้อย เพราะเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหารเช่นนี้ก็อาจจะสงผลกระทบต่อสุขภาพคนได้ไม่ยาก โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่มีโรคเรื้อรังอยู่แล้วดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงออกมาเรียกร้องว่าเราจะต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของอนุภาคพลาสติกต่อผู้คนให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะปัญหาเช่นนี้ถือเป็นเรื่องที่ดูจะเริ่มเร่งด่วนขึ้นทุกวันแล้วนั่นเองขอบคุณที่มาlink.springer.com/article/10.1007/s12403-022
แจ้งเตือน
ภาพและเนื้อหาต่อไปนี้ ไม่เหมาะสมแก่เด็ก และเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี