เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เราใช้คุกกี้เพื่อนำเสนอเนื้อหาและโฆษณา คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม‘นโยบายคุกกี้’ และ ‘นโยบายความเป็นส่วนตัว’
เรื่องล่าสุดของหมวด
ไอเดียทำเล็บเจ้าสาวเรียบหรู Minimal มือสวยแพง
ลงทุนยกกระชับใบหน้าด้วยโปรแกรม ULTHERAPY สรุปคุ้มไม่คุ้ม?
Chantecaille ฉลองคอลเลคชั่น Rose de Mai ณ Firster King Power Mahanakhon
"ป๋อง พิมพ์แข - ตุ๋ย นวลปรางค์" 2 ตัวแม่ เปลี่ยนโฉมเป็นสาวแซ่บ โดย "น้องฉัตร"
มาเปลี่ยนลุคใหม่ให้สวยเฉี่ยว ด้วยสีผมยอดฮิตกับสี Copper Red ที่มอบลุคเปรี้ยวซ่าไม่ซ้ำใคร
"คิส มาย บอดี้" ครั้งแรกของเซรั่มน้ำหอมกันแดด หอม ติดทนนาน แถมบำรุงผิว
หมวกทรงไหนเข้ากับรูปหน้าของเรา เลือกแบบที่ใช่ยิ่งเสริมลุคให้คอมพลีท
เตรียมเปลี่ยนลุคเป็นปาร์ตี้เกิร์ล เมื่อไอเท็มปักเลื่อมกลับมาฮอตฮิตอีกครั้ง
DER MOND เปิดตัวคอลเลกชั่นใหม่ DER MOND x VATANIKA
ซูมแฟชั่น "อิงฟ้า วราหะ" สวย แซ่บ หลากลุค บนเวทีคอนเสิร์ตเดี่ยวครั้งแรกในชีวิต
"เป๊ปปี้ เพอร์เพรชชิวา" สวยสง่าในชุดราตรี ที่ไม่ได้ใส่ในรอบตัดสิน MUT2022
รวมฮิตแฟชั่นออกสื่อแบบไม่อยากเจอสื่อของ Kim Kardashian
สมูทตีโบวล์สีฟ้า หอมหวานโยเกิร์ต ผลไม้คับชาม
เปิดใจว่าที่เจ้าสาว "ณัฐ ณิชชา" หวานใจ "อนันดา" ผู้หญิงเก่งโชคดีที่สุดของปีนี้
เศรษฐีจีนส่งลูกเรียน โรงเรียนนานาชาติในญี่ปุ่น กันอย่างล้นหลาม
วิธีทำหยำเส้นเล็กปลาร้าหอม เอาใจคนรักยำ
"แอนนา เสืองามเอี่ยม" เจอคุณแม่ครั้งแรก หลังคว้า "มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2022"
รวม 7 เมนูอาหารบำรุงสายตา อร่อยทำง่าย ดีต่อสุขภาพ เหมาะเข้าครัวบอกรักในวันแม่
หน้า: 1
แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?
ความรู้เรื่องเสียง What is Noise มนุษย์เราที่มีความปกติทางการได้ยินโดยทั่วไปจะสามารถรับฟังเสียงได้ตั้งแต่ความถี่ 20-20000 Hz (เฮิร์ตซ์) และจะรับรู้การได้ยินดีที่สุดที่ความถี่ 4,000 Hz แต่สำหรับความถี่ที่ต่ำกว่า 20 Hz เราแทบจะไม่ได้ยินเสียงในย่านความถี่นั้นเลย แต่อาจจะรับรู้การกำเนิดเสียงในย่านความถี่นั้นเป็นความรู้สึกสั่นสะเทือนขึ้นมาแทนแท้จริงแล้วเสียงคือพลังงานทางกลในรูปแบบของความสั่นสะเทือนที่ถูกส่งผ่านโมเลกุลของตัวกลาง เช่น อากาศ ซึ่งเสียง (sound) จะกลายเป็นเสียงรำคาญ (noise) ต่อเมื่อเรารู้สึกว่าเสียงนั้นเป็นเสียงที่เราไม่ต้องการได้ยินนั่นเอง เสียงที่เราสามารถรับรู้ได้นั้น จะมีอยู่ 2 ลักษณะคือ 1) Air-Borne Noise หรือเสียงที่เดินทางผ่านอากาศแล้วผ่านเข้าหูผู้รับเสียงเกิดเป็นการได้ยินเสียง และ 2) Structure-Borne Noiseฉนวนกันเสียง : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเสียง ดูเพิ่มเติมที่นี่ https://noisecontrol365.com/aboutnoise/Detail/0-8-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87
แจ้งเตือน
ภาพและเนื้อหาต่อไปนี้ ไม่เหมาะสมแก่เด็ก และเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี