หน้า: 1

ชนิดกระทู้ ผู้เขียน กระทู้: สภาพอากาศสุดขั้วและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: เราต้องถกเถียงกันไปอีกนานเท่าไหร่  (อ่าน 58 ครั้ง)
add
เรทกระทู้
« เมื่อ: 22 ม.ค. 11, 15:34 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
Send E-mail

แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?

ปิดปิด
 

เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วจะเกิดบ่อยขึ้นเมื่อโลกร้อนขึ้น

ใครก็ตามที่ได้อ่านข่าวเกี่ยวกับสภาพอากาศสุดขั้วที่ผ่านมา ซึ่งแม้จะมีความเข้าใจแต่ก็อาจจะปนความสับสนอยู่บ้างที่มีการพูดถึงความเชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรื่องต่างๆ เหล่านี้ ก็ดูจะมีน้ำหนักมากขึ้นทุกปี แต่ที่น่าเสียดายก็คือเป็นการพูดวนเวียนซ้ำๆอยู่อย่างเดิม มีแต่คำถามเพียงระยะสั้นๆในแต่ละช่วงที่เกิดเหตุการณ์โดยไม่คำนึงถึงสัญญาณอันตรายที่ใหญ่หลวงและน่ากลัว

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุทกภัยในออสเตรเลีย สื่อให้ความสนใจและทำข่าวอย่างมาก พูดถึงความเชื่อมโยงระหว่างลา นีน่า กับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ลา นีน่า เป็นเหตุการณ์ความหนาวเย็นรุนแรงที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางและฝั่งตะวันออกในออสเตรเลีย (โดยเฉพาะทางออสเตรเลียตะวันออก) เหตุการณ์ลา นีน่า จะเกิดขึ้นพร้อมๆกับสภาพฝน นักวิทยาศาสตร์บอกว่าอุทกภัยที่รัฐควีนสแลนด์เป็นผลมาจากเหตุการณ์ลา นีน่าปีนี้ ซึ่งมีความรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ที่เคยเกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517

แต่สิ่งที่เรายังไม่แน่ใจนักก็คือ ระดับอันตรายระหว่างความรุนแรงของลา นีน่ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในทำนองเดียวกัน เราก็ต้องหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงโดยตรงระหว่างเหตุการณ์วิกฤตสภาพอากาศแต่ละเหตุการณ์ด้วย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะต้องรอไปเรื่อยๆจนเราสามารถเข้าใจถึงความเชื่อมโยงดังกล่าวอย่างถ่องก่อนที่จะตัดสินใจดำเนินการได้ สาเหตุและผลกระทบโดยตรงที่เกิดขึ้นในแต่ละเหตุการณ์ยากที่จะบอกได้อย่างชัดเจน แต่เรารู้ว่ารูปแบบโดยรวมของเหตุการณ์ความรุนแรงและวิกฤตสภาพอากาศที่เราประสบในแต่ละปีนั้น มีความสอดคล้องกับการคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือผลกระทบจากโลกร้อนที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายแล้ว ถ้าเรายังคงรอพิสูจน์ถึงความเชื่อมโยงให้แน่ชัดระหว่างเหตุการณ์วิกฤตอากาศกับโลกร้อน ในไม่ช้าเราก็จะเผชิญกับความสูญเสียที่ไม่สามารถนำกลับคืนมาได้ ถ้าตอนนี้เรายังไม่ถึงจุดๆนั้น ดังนั้น สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ เราต้องตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นกับโลกเราแล้วในขณะนี้ และผลกระทบก็จะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น และก่อให้เกิดความสูญเสียในสังคมมากขึ้นด้วย ซึ่งนี่ก็เป็นเหตุผลสำคัญที่เราต้องเร่งดำเนินการในทุกหนทางที่จะทำให้เรามีโอกาสบรรเทาความถี่ของเหตุการณ์วิกฤตต่างๆลง แม้ว่าจะยังมีความไม่ชัดเจนถึงความเชื่อมโยงอยู่ก็ตาม

30 ตุลาคม 2549 พระภิกษุไทยเดินลุยน้ำที่ท่วมจากแม่น้ำเจ้าพระยา ขณะบิณฑบาตรที่เกาะเกร็ด เกาะที่อยู่ใกล้กรุงเทพฯ ซึ่งในช่วงต้นปีนั้น นักวิทยาศาสตร์ได้เตือนว่า ประเทศไทยจะประสบกับสภาพอากาศสุดขั้วบ่อยครั้งขึ้น อันเป็นผลมาจากโลกร้อน

อ่านเพิ่มเติมที่ : http://www.greenpeace.org/seasia/th/Blog1/blog/32503



noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า

กระทู้ฮอตในรอบ 7 วัน

Tags:
Tags:  

หน้า: 1

 
ตอบ

ชื่อ:
 
แชร์ไป Facebook ด้วย
กระทู้:
ไอค่อนข้อความ:
ตัวหนาตัวเอียงตัวขีดเส้นใต้จัดย่อหน้าชิดซ้ายจัดย่อหน้ากึ่งกลางจัดย่อหน้าชิดขวา

 
 

[เพิ่มเติม]
แนบไฟล์: (แนบไฟล์เพิ่ม)
ไฟล์ที่อนุญาต: gif, jpg, jpeg
ขนาดไฟล์สูงสุดที่อนุญาต 20000000 KB : 4 ไฟล์ : ต่อความคิดเห็น
ติดตามกระทู้นี้ : ส่งไปที่อีเมลของสมาชิกสนุก
  ส่งไปที่
พิมพ์อักษรตามภาพ:
พิมพ์ตัวอักษรที่แสดงในรูปภาพ
 
:  
  • ข้อความของคุณอยู่ในกระทู้นี้
  • กระทู้ที่ถูกใส่กุญแจ
  • กระทู้ปกติ
  • กระทู้ติดหมุด
  • กระทู้น่าสนใจ (มีผู้ตอบมากกว่า 15 ครั้ง)
  • โพลล์
  • กระทู้น่าสนใจมาก (มีผู้ตอบมากกว่า 25 ครั้ง)
         
หากท่านพบเห็นการกระทำ หรือพฤติกรรมใด ๆ ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียแก่สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึง การใช้ข้อความที่ไม่สุภาพ พฤติกรรมการหลอกลวง การเผยแพร่ภาพลามก อนาจาร หรือการกระทำใด ๆ ที่อาจก่อให้ผู้อื่น ได้รับความเสียหาย กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม